ต-สำนกงาน-มอ-สอง
Thu, 17 Nov 2022 21:26:42 +0000

เลขที่หนังสือ: กค 0811/06990 วันที่: 16 กรกฎาคม 2542 เรื่อง: ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีบริษัทได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน ข้อกฎหมาย: มาตรา 3 เตรส, มาตรา 63, คำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท. ป. 4/2528 ฯ ข้อหารือ: บริษัทฯ ได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2540 ประเภท 4. 28 การ ชุบเคลือบผิวโลหะและพลาสติก (SURFACE TREATMENT) ตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการลงทุน พ. ศ. 2520 ให้ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ได้จากการ ประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีกำหนดเวลา 8 ปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการ บริษัทฯ รับจ้างชุบเคลือบผิวโลหะ บริษัทฯ ต้องตัดเปลี่ยนกระบอกไฮดรอลิค ซ่อม โดย เจีย กลึงและเชื่อม ก่อนการชุบเคลือบผิวโลหะ ฯลฯ โดยแยกเรียกเก็บค่าบริการแต่ละรายการ เมื่อบริษัทฯ ผู้ว่าจ้างจ่ายค่าจ้างจะหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส ไว้ทุกครั้ง บริษัทฯ ขอทราบว่า 1. บริษัทฯ ผู้ว่าจ้างไม่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เมื่อจ่ายค่าจ้างให้บริษัทฯ ใช่หรือไม่ และบริษัทฯ ต้องปฏิบัติอย่างไรเพื่อมิให้ผู้ว่าจ้างไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เมื่อจ่าย ค่าจ้างให้บริษัทฯ 2.

เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 3/2563 เรื่อง มาตรการกระตุ้นการลงทุน 07 พฤษภาคม 2563 ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 3/2563 เรื่อง มาตรการกระตุ้นการลงทุน พล. อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ได้ลงนามในประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 3/2563 เรื่อง มาตรการกระตุ้นการลงทุน ซึ่งประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนพิเศษ 107 ง และมีผลบังคับใช้แล้ว สำหรับเนื้อหาของประกาศดังกล่าวระบุว่า อนุสนธิประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2557 เรื่อง นโยบายและหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุน เพื่อกระตุ้นให้โครงการขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมเป้าหมายมีการลงทุนในประเทศโดยเร็ว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 16 มาตรา 18 มาตรา 31 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ. ศ.

จากข้อ 1. เมื่อบริษัทฯ ไม่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่บริษัทฯ ได้ถูกหักภาษี และนำส่งไว้แล้วตั้งแต่ปี 2540 ถึงปัจจุบัน บริษัทฯ จะขอคืนได้หรือไม่ อย่างไร แนววินิจฉัย: 1.

2520 จะได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ ตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนก็ต่อเมื่อเงินปันผลดังกล่าวนั้น จ่ายจากกำไรสุทธิของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและจะต้องเป็นเงินปันผลที่ผู้ได้รับการส่งเสริมจ่ายและผู้รับเงินปันผลได้รับในระหว่างระยะเวลาที่ผู้ได้รับการส่งเสริมได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ ตามประกาศกรมสรรพากร เรื่อง การคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ. 2530 ดังนั้น กรณีที่บริษัท รวยเงิน จำกัด ประสงค์จะนำกำไรสะสมของกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามบัตรส่งเสริมการลงทุนฉบับแรก มาจ่ายเป็นเงินปันผลในปีอื่นๆ ที่มิใช่ระยะเวลาที่บริษัทได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามบัตรส่งเสริมฉบับดังกล่าว เงินปันผลที่ได้รับจากบริษัทในกรณีดังกล่าวย่อมไม่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.

สิทธิและประโยชน์ตามประเภทกิจการ • อุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ และการแพทย์ • อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง • อุตสาหกรรมพื้นฐานและอุุตสาหกรรมสนับสนุน • อุตสาหกรรมดิจิทัล สร้างสรรค์และบริการที่มีมูลค่าสูง ได้รับยกเวัน ภาษีเงินได้นิติบุคคล สูงสุด 13 ปี 2. สิทธิและประโยชน์ตามเทคโนโลยี • Biotechnology • Nanotechnology • Advanced Material Technology • Digital Technology ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล10 ปี สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติม 3. สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาความสามารถทางการแข่งขันกรณีที่ได้ลงทุนหรือมีค่าใช้จ่าย ดังนี้ • การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม • ค่าธรรมเนียมในการใช้สิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาจากแหล่งในประเทศ • ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีขั้นสููง • พัฒนาผู้ผลิตวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนในประเทศ • ออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ • สนับสนุนสถาบันการศึกษา/วิจัย หรือกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี และบุุคลากร 4. สิทธิและประโยชน์เพิ่มเติมตามพื้นที่ • เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) • พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้และเมืองต้นแบบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ • เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) • 20 จัังหวัดที่มีรายได้ต่อหัวต่ำ • นิคม/เขตอุตสาหกรรม • เขตวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เช่น อุุทยานวิทยาศาสตร์, เมืองนวัตกรรมอาหาร, อุุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ เป็นต้น 5.

เลขที่หนังสือ: กค 0702/5562 วันที่:4 กันยายน 2551 เรื่อง: ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการใช้สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน ข้อกฎหมาย: มาตรา 31 มาตรา 34 และมาตรา 35(2)3( แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน ข้อหารือ บริษัทฯ ประกอบกิจการผลิตเม็ดพลาสติกโดยได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จำนวน 2 ฉบับ ดังนี้ บัตรส่งเสริมคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนฉบับที่ 1 ลงวันที่ 8 กรกฎาคม 2539 (บัตร 1) ส่งเสริมการลงทุนในการผลิต POLYCARBONATE RESIN ประเภท 6.

  • 【FAQ 108】 หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์แก่โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
  • มาตรา 31 boi com
  • มาตรา 31 boi 18

คำถามที่พบบ่อย คำถาม: การยื่นใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านระบบ E-TAX คำถาม: การใช้สิทธิประโยชน์ด้านช่างฝีมือ ม. 24 และ ม. 25 คำถาม: แนวทางการกรอกคำขอกิจการด้านดิจิทัล+คำถามที่พบบ่อย+ตัวอย่างคำขอ คำถาม: FAQ 108 คำถามกับงานส่งเสริมการลงทุน คำตอบ: เว็บไซต์ BOI ในส่วนของ เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลงานส่งเสริมการลงทุนและสิทธิประโยชน์ เพื่อให้ผู้ได้รับส่งเสริมการลงทุนได้ใช้เป็นความรู้เบื้องต้นในการติดต่องาน BOI *** กรณีที่ต้องการข้อมูลที่เป็นทางการ กรุณาติดต่อสอบถามจาก BOI ได้โดยตรง

มาตรา 31 boi movie

เพิ่มประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการใช้สิทธิและประโยชน์ภาษีอากร โดยให้สิทธิและประโยชน์แก่โครงการที่มีผลประโยชน์ต่อเศรษฐกิจอย่างแท้จริง ใช้หลักการบริหารและการจัดการองค์กรที่ดี (Good Governance) ในการให้สิทธิและประโยชน์ด้านภาษีอากรโดยกำหนดให้ผู้ได้รับการส่งเสริม ต้องรายงานผลการดำเนินงานของโครงการที่ได้รับการส่งเสริม เพื่อให้สำนักงานได้ตรวจสอบ ก่อนใช้สิทธิและประโยชน์ภาษีเงินได้นิติบุคคลในปีนั้นๆ 2. สนับสนุนให้อุตสาหกรรมพัฒนาระบบคุณภาพ และมาตรฐานการผลิตเพื่อแข่งขันในตลาดโลก โดยกำหนดให้ผู้ได้รับการส่งเสริมทุกรายที่มีโครงการลงทุนตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป (ไม่รวมค่าที่ดินหรือทุนหมุนเวียน) ต้องดำเนินการให้ได้รับใบรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่า 3. ปรับมาตรการส่งเสริมการลงทุนให้สอดคล้องกับข้อตกลงด้านการค้า และการลงทุนระหว่างประเทศโดยการยกเลิกเงื่อนไขการส่งออกและการใช้ชิ้นส่วนในประเทศ 4. สนับสนุนการลงทุนเป็นพิเศษในภูมิภาค หรือท้องถิ่นที่มีรายได้ต่ำ และมีสิ่งเอื้ออำนวยต่อการลงทุนน้อย โดยให้สิทธิและประโยชน์ด้านภาษีอากรสูงสุด 5. ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม โดยกำหนดเงื่อนไขเงินลงทุนขั้นต่ำของโครงการที่ได้รับการส่งเสริมเพียง 500, 000 บาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) สำหรับกิจการตามประกาศคณะกรรมการที่ 1/2553 และไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) สำหรับกิจการอื่น 6.

มาตรา 31 boi video

7/2543 อ่านกระทู้ถามตอบ

2520 บุคคลธรรมดาผู้ได้รับเงินปันผลนั้นต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 10 ของเงินได้ตามมาตรา 50 (2) (จ) แห่งประมวลรัษฎากร และผู้มีเงินได้ซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทยมีสิทธิเลือกเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตราร้อยละ 10 ของเงินได้ตามมาตรา 48 (3) วรรคสอง นอกจากนั้นผู้มีเงินได้ดังกล่าวยังมีสิทธิได้รับเครดิตภาษีเงินปันผลตามปกติ 3 2. กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นผู้ได้รับเงินปันผล ที่จ่ายจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 31 จะไม่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตลอดระยะเวลาที่ผู้จ่ายเงินปันผลนั้นได้รับการส่งเสริมและได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริม กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้รับเงินปันผลที่จ่ายจากกิจการที่ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติตามมาตรา 35 (1) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.

  1. ตุ๊กตา ผู้หญิง ผม ยาว 6 เมตร
  2. สาย รถ เม
  3. ราคา canon 600d
  4. ท่า รถ ช้างเผือก เชียงใหม่ กรุงเทพ
  5. ระบบ slip online
  6. จอบ พร้อม ด้าม ราคา slp
  7. เนื้อเพลง every time
  8. ฉางต่วนจิง
  9. Hong kong official languages chinese
  10. Ubc call center โทร mobile
  11. พ รี เมี่ ยม เขียน ยัง ไง pantip
  12. ความหนากําแพงบ้าน
  13. ราคา กาแฟ มอ ค โค น่า รู้ โตะ
  14. โซนา หา ปลา
  15. ใบ งาน ภาษา อังกฤษ เรื่อง occupation
  16. เพลง ลอยกระทง mp3
  17. ราคาทอง0.1กรัม วันนี้ 2564

พูดคำแปลภาษา อิ สาน, 2024